You are currently viewing ท้องอืดเรื้อรัง ทานยาไม่หาย สัญญาณร้าย เสี่ยงตับพัง!

ท้องอืดเรื้อรัง ทานยาไม่หาย สัญญาณร้าย เสี่ยงตับพัง!

ท้องอืดอาการใกล้ตัวที่หลายคนเคยเป็น หากเป็นไม่บ่อยถือเป็นเรื่องธรรมดา เพราะเกิดได้จากการทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ทานเยอะเกิน หรือระบบการย่อยอาหาร ย่อยไม่ทันนั่นเอง แต่รู้ไหมว่าหากท้องอืดบ่อยๆ จนเรื้อรังเข้าทานยาแล้วก็ไม่หาย แสดงว่าคุณกำลังเสี่ยงเป็น “ไขมันพอกตับ” ได้

ท้องอืดเรื้อรังกับไขมันพอกตับเกี่ยวข้องกันอย่างไร?

เนื่องจากไขมันพอกตับ เป็นภาวะที่ร่างกาย ไม่สามารถนำไขมันไปใช้ได้หมด จึงเกิดการตกค้างและสะสมเป็นไขมันในรูปแบบไตรกลีเซอไรด์ที่แทรกอยู่ในเซลล์ตับ ซึ่งสามารถเกิดได้กับทุกเพศทุกวัย แต่จะพบมากในช่วงอายุ 40-50 ปีขึ้นไป

โดยส่วนใหญ่อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย มีการทำงานร่วมกัน เช่น ระบบทางเดินอาหาร ที่ต้องทำงานร่วมกับ ตับ ตับอ่อน และถุงน้ำดี เป็นต้น ซึ่งตับมีหน้าที่ผลิตน้ำดี เพื่อช่วยในการย่อยไขมัน และวิตามินบางชนิด โดยน้ำดีที่ถูกสร้างจากตับจะถูกเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี และลำเลียงเข้าสู่ทางเดินอาหารบริเวณลำไส้เล็กส่วนต้น เพื่อใช้ย่อยอาหารประเภทไขมัน ดังนั้นเมื่อตับ เกิดความผิดปกติขึ้น ระบบการย่อยอาหารเสียสมดุล ก็จะย่อยอาหารได้น้อยลง อาหารจึงตกค้างในกระเพาะอาหาร เมื่อทานอาหารเพิ่มก็จะรู้สึกแน่นท้อง และยิ่งเกิดการหมักหมมนานเข้าจะเกิดแก๊สในกระเพาะ ทำให้เกิดอาการท้องอืด ต่อให้ทานยาเท่าไหร่ก็ไม่หาย และยาที่ทานเข้าไปยิ่งไปสะสมและทำร้ายตับเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย

หากคุณกำลังมีอาการท้องอืดเรื้อรังอยู่ละก็ นั่นแหละคือสัญญาณเตือนว่า คุณกำลังเป็นไขมันพอกตับ รีบไปพบแพทย์ด่วนก่อนสายเกินแก้ เพราะหากปล่อยไว้นานเข้า จากไขมันพอกตับ สามารถพัฒนาเป็นตับแข็ง และร้ายแรงถึงขั้นมะเร็งตับได้ ซึ่งหากเป็นหลักแล้วทางการแพทย์ยังไม่มียารักษา ทำได้เพียงดูแลสุขภาพตนเองเท่านั้น

ดังนั้น สุขภาพตับถือเป็นเรื่องสำคัญ ควรรีบดูแลก่อนสายเกินแก้ด้วย “ลิฟพลัส” ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบำรุงตับ ที่มีสารสกัดจากสมุนไพรกว่าที่ดีต่อตับ 12 ชนิด ช่วยบำรุงฟื้นฟูตับ เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตับ ให้สุขภาพตับแข็งแรง ไม่ทำลายตับ ไต และไม่ตกค้าง ปรึกษาฟรี! โทรเลย 098-264-2464

ขอขอบคุณข้อมูลจาก:

-ศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านโรคตับ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (http://www.livernurturingclub.com/center/knowledge/ตับทำหน้าที่อะไร/)
-National Geographic (https://ngthai.com/science/21292/digestivesystem/)
– Bangkok Hospital (https://www.phukethospital.com/th/healthy-articles/fatty-liver/)
– POBPAD (pobpad.com/ไขมันพอกตับ)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมหรือโทรสั่งซื้อสินค้า

ใส่ความเห็น